พื้นที่สำหรับนำเสนอสาระ และความรู้ที่ได้รับจากประสบการณ์ที่ผ่านพบ ทั้งในฐานะนักดนตรี นักทรอมโบน อาจารย์สอนดนตรี พ่อ สามี และในฐานะมนุษย์คนหนึ่งที่มีชีวิตอยู่ในยุคที่อะไร ๆ ก็เปลี่ยนแปลงได้อย่างรวดเร็ว
ประวัติ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นรเศรษฐ์ อุดาการ
การศึกษา
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต ดนตรี (การแสดงดนตรี) มหาวิทยาลัยมหิดล
ศิลปศาสตรบัณฑิต รัฐศาสตร์ (เกียรตินิยมอันดับ 2) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ตำแหน่งงานปัจจุบัน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาขาดุริยางค์ตะวันตก วิทยาลัยดุริยศิลป์ มหาวิทยาลัยพายัพ
อาจารย์ประจำหลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560
ตำแหน่งงานที่เคยได้รับ
2554 – ปัจจุบัน อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต
2558 – 2560 ผู้อำนวยการสถาบันดนตรี มหาวิทยาลัยพายัพ
2557 – 2558 ผู้ช่วยผู้อำนวยการสถาบันดนตรี มหาวิทยาลัยพายัพ
2556 – 2557 ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษา วิทยาลัยดุริยศิลป์ มหาวิทยาลัยพายัพ
2552 – 2554 อาจารย์พิเศษ วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล
2549 – 2550 อาจารย์ผู้ควบคุมวงดุริยางค์ โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย
ผลงานวิชาการ
งานวิจัยเชิงสร้างสรรค์
นรเศรษฐ์ อุดาการ (2567). คอนแชร์โตหมายเลข 2 ของวลาดิสลาฟ บลาเซวิช: บทวิเคราะห์และแนวทางการฝึกซ้อม เชียงใหม่, ประเทศไทย. นำเสนอเป็นบทความตีพิมพ์ ที่ วารสารดนตรีและการแสดง คณะดนตรีและการแสดง มหาวิทยาลัยบูรพา ประจำฉบับ ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2567, ประเทศไทย.
นรเศรษฐ์ อุดาการ (2565). ดูออลโพซาวเนอ: ทรอมโบนบรรเลงเดี่ยวสองบุคลิกผลงานของไอเดน ฮาร์ทเทอรี. เชียงใหม่, ประเทศไทย. แสดงเมื่อวันที่ 25 มกราคม 2563 และนำเสนอเป็นบทความตีพิมพ์ ที่ วารสารดนตรีและการแสดง คณะดนตรีและการแสดง มหาวิทยาลัยบูรพา ประจำฉบับ ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2565, ประเทศไทย.
นรเศรษฐ์ อุดาการ (2562). การแสดงไพรซ์วินเนอร์คอนเสิร์ต 2018 ของวงซุปเปอร์บราซอองซอมเบลอ. เชียงใหม่, ประเทศไทย. นำเสนอในการประชุมวิชาการระดับชาติ ศิลปากรวิจัยและสร้างสรรค์ ครั้งที่ 11 วันที่ 13-14 มิถุนายน 2562. นครปฐม, ประเทศไทย.
นรเศรษฐ์ อุดาการ (2561). คอนแชร์โตแรปโซดีสำหรับวงทรอมโบนควอร์เท็ตผลงานของโมคริส ฟายโนด์. คอนเสิร์ต “Prize Winner”, เชียงใหม่, ประเทศไทย. นำเสนอในการประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยสงชลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง, จังหวัดตรัง, ประเทศไทย.
นรเศรษฐ์ อุดาการ (2560). การบรรเลงเดี่ยวเทเนอร์ทรอมโบนบทเพลงคอนแชร์โตสำหรับทรอมโบนและวงออร์เคสตราผลงานของโลนนี่ โกรนดาลห์. เชียงใหม่, ประเทศไทย. (ทุน มพย.2558) นำเสนอในการประชุมวิชาการระดับชาติ ศิลปากรวิจัยและสร้างสรรค์ ครั้งที่ 10. นครปฐม, ประเทศไทย.
นรเศรษฐ์ อุดาการ (2556). การบรรเลงเดี่ยวเทเนอร์ทรอมโบนประกอบการบรรยาย หัวข้อ “ท่อนเพลงบรรเลงเดี่ยวสำหรับเทเนอร์ทรอมโบน ตำแหน่งที่ 1 จากซิมโฟนีหมายเลข 3 ของกุสตาฟ มาห์เลอร์”. เชียงใหม่, ประเทศไทย. (ทุน มพย.2555)
นรเศรษฐ์ อุดาการ (2556). การบรรเลงเดี่ยวเทเนอร์ทรอมโบนบทเพลง Colloquy For Trombone and Symphonic Band ผลงานของ William Goldstein. เชียงใหม่, ประเทศไทย. นำเสนอในการประชุมวิชาการระดับชาติ ศิลปากรวิจัยและสร้างสรรค์ ครั้งที่ 9. นครปฐม, ประเทศไทย.
บทความวิชาการ
อัจฉรา อุ่นใจ และนรเศรษฐ์ อุดาการ (2563). วงดนตรีจิตอาสาเชียงใหม่ : การเสริมสร้างความเข็มแข็งแก่ชุมชน. วารสารดนตรีและการแสดง มหาวิทยาลัยบูรพา, ปีที่ 6 ฉบับที่ 2, 2563, กรกฎาคม – ธันวาคม, .
นรเศรษฐ์ อุดาการ (2561). บทเพลงสรรเสริญสดุดีธรรมชาติ: ซิมโฟนีหมายเลข ๓ ของกุสตาฟ มาห์เลอร์. วารสารทีทัศน์วัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, ปีที่ 17 ฉบับที่ 2, กรกฎาคม – ธันวาคม 2562, 107-122.
นรเศรษฐ์ อุดาการ, จักรพันธ์ ชัยยะ (2561). หลักสำคัญสำหรับการเป็นนักดนตรีบรรเลงประกอบการแสดงละครเวที. วารสารดนตรีและการแสดง มหาวิทยาลัยบูรพา, ปีที่ 4 ฉบับที่ 1, 2561, มกราคม-มิถุนายน, 36-49.
นรเศรษฐ์ อุดาการ (2560). แบบฝึก 60 นาทีสำหรับทรอมโบน. วารสาร Veridian E-Journal, มหาวิทยาลัยศิลปากร, ปีที่ 10 ฉบับที่ 2, 2560, กันยายน-ธันวาคม.
รางวัล
- Special Award Chiangmai Musician from Open Category Chiangmai Ginastera International Music Festival 2016.
- Geoff Erik Music Conservatoire Award Chiangmai Musician from Open CategoryBronze Prize Chiangmai Ginastera International Music Festival 2017.
- Bronze Prize for Chiangmai Musician from Open Category Chiangmai Ginastera International Music Festival 2018.
- Gold Award 1st Price for Special Awards for Chiang Mai Musician from Open Category Chiangmai Ginastera International Music Festival 2019 with the Super Brass 8.
- Silver Award 2nd Price for for Special Awards for Chiang Mai Musician from Open Category Chiangmai Ginastera International Music Festival 2019 with Remi Namthep.
ผลงานอื่น ๆ
การบรรเลงบันทึกเสียง
นรเศรษฐ์ อุดาการ. (2558). บทเพลง “Viva Rhapsody” ผลงานของ พันธวัจน์ นาวิก. เชียงใหม่, ประเทศไทย.
นรเศรษฐ์ อุดาการ. (2556). บทเพลง “นิมมานเหมินต์ (Nimman in Love)” ผลงานของวง Harmonica Sunrise. เชียงใหม่, ประเทศไทย.
การแสดงร่วมกับวงซิมโฟนิกแบนด์และวงซิมโฟนีออร์เครสตรา
นรเศรษฐ์ อุดาการ. (2562). การแสดงตอนเสิร์ต “A Gala Concert Night with Chiangmai Symphony Ochestra” ร่วมกับวงเชียงใหม่ซิมโฟนีออร์เครสตรา วันที่ 23 พฤศจิกายน 2562 ณ โรงละคร Kad Theatre, จังหวัดเชียงใหม่.
นรเศรษฐ์ อุดาการ. (2562). การแสดงตอนเสิร์ต “A Prize Winner Double 5 with Chiangmai Symphony Ochestra” ร่วมกับวงเชียงใหม่ซิมโฟนีออร์เครสตรา วันที่ 15 มิถุนายน 2562 ณ โรงละคร Kad Theatre, จังหวัดเชียงใหม่.
นรเศรษฐ์ อุดาการ. (2561). การแสดงตอนเสิร์ต “A Gala Concert Night with Chiangmai Symphony Ochestra” ร่วมกับวงเชียงใหม่ซิมโฟนีออร์เครสตรา วันที่ 17 พฤศจิกายน 2561 ณ โรงละคร Kad Theatre, จังหวัดเชียงใหม่.
นรเศรษฐ์ อุดาการ. (2560). การแสดงตอนเสิร์ต “A Gala Concert Night with Chiangmai Symphony Ochestra” ร่วมกับวงเชียงใหม่ซิมโฟนีออร์เครสตรา วันที่ 18 พฤศจิกายน 2560 ณ โรงละคร Kad Theatre, จังหวัดเชียงใหม่.
นรเศรษฐ์ อุดาการ. (2559). การแสดงตอนเสิร์ต “Carmina Burana Concert” ร่วมกับวงเชียงใหม่ซิมโฟนิกแบนด์ วันที่ 20 สิงหาคม 2559 ณ โรงละคร Kad Theatre, จังหวัดเชียงใหม่.
นรเศรษฐ์ อุดาการ. (2559). การแสดงตอนเสิร์ต “Brasska Concert” ร่วมกับวงเชียงใหม่ซิมโฟนีออร์เครสตรา วันที่ 5 มีนาคม 2559 ณ โรงละคร Kad Theatre, จังหวัดเชียงใหม่.
นรเศรษฐ์ อุดาการ. (2558). การแสดงตอนเสิร์ต “Piano Concerti Concert” ร่วมกับวงเชียงใหม่ซิมโฟนีออร์เครสตรา วันที่ 28 พฤศจิกายน 2558 ณ โรงละคร Kad Theatre, จังหวัดเชียงใหม่.
นรเศรษฐ์ อุดาการ. (2558). การแสดงตอนเสิร์ต “Beethoven’s Double Five Concert” ร่วมกับวงเชียงใหม่ซิมโฟนีออร์เครสตรา วันที่ 29 สิงหาคม 2558 ณ โรงละคร Kad Theatre, จังหวัดเชียงใหม่.
นรเศรษฐ์ อุดาการ. (2558). การแสดงตอนเสิร์ต “Animation Soundtracks” ร่วมกับวงเชียงใหม่ซิมโฟนิกแบนด์ วันที่ 23 เมษายน 2558 ณ โรงละคร Kad Theatre, จังหวัดเชียงใหม่.
นรเศรษฐ์ อุดาการ. (2557). การแสดงตอนเสิร์ต “Beethoven’s Symphony No.9” ร่วมกับวงเชียงใหม่ซิมโฟนีออร์เครสตรา วันที่ 23 สิงหาคม 2557 ณ โรงละคร Kad Theatre, จังหวัดเชียงใหม่.
นรเศรษฐ์ อุดาการ. (2557). การแสดงตอนเสิร์ต “A Klezner Tribute” ร่วมกับวงเชียงใหม่ซิมโฟนิกแบนด์ วันที่ 27 ธันวาคม 2557 ณ โรงละคร Kad Theatre, จังหวัดเชียงใหม่.
นรเศรษฐ์ อุดาการ. (2556). การแสดงตอนเสิร์ต “Fantastic Wind” ร่วมกับวงเชียงใหม่ซิมโฟนิกแบนด์ วันที่ 11 ตุลาคม 2556 ณ โรงละคร Kad Theatre, จังหวัดเชียงใหม่.
Updated 19.11.20